Monday, December 13

Sarana Tham


ด้วยคำเพียงเท่านี้ ย่อมเป็นอันจิตสันดานที่เป็นไปโดยอาการต่างกัน
กระทำการตกลงรับอารมณ์ ของผู้ทำที่มีความพร้อมเพรียงด้วยจิตสันดาน
นั้น.
อีกประการหนึ่ง ศัพท์ว่า เอวํ เป็นคำชี้กิจของบุคคล.
ศัพท์ว่า สุตํ เป็นคำชี้ถึงกิจของวิญญาณ
ศัพท์ว่า เม เป็นคำชี้ถึงบุคคลถึงบุคคลผู้ประกอบกิจทั้งสอง.
ก็ในพระบาลีนี้ มีความย่อดังนี้ว่า ข้าพเจ้า คือบุคคลผู้ประกอบ
ด้วยโสตวิญญาณ ได้สดับมาด้วยโวหารว่า สวนกิจที่ได้มาด้วยอำนาจ
วิญญาณ
.
บรรดาศัพท์ทั้ง ๓ นั้น ศัพท์ว่า เอวํ และศัพท์ว่า เม เป็นอวิชชมาน-
บัญญัติ ด้วยอำนาจสัจฉิกัตถปรมัตถ์ เพราะในพระบาลีนี้ ข้อที่ควรจะได้
ชี้แจงว่า เอวํ ก็ดี ว่า เม ก็ดี นั้น ว่าโดยปรมัตถ์ จะมีอยู่อย่างไร.
บทว่า สุตํ เป็นวิชชมานบัญญัติ เพราะอารมณ์ที่ได้ทางโสต ใน
บทนี้นั้น ว่าโดยปรมัตถ์มีอยู่.
อนึ่ง บทว่า เอวํ และ เม เป็นอุปาทาบัญญัติ เพราะมุ่งกล่าว
อารมณ์นั้น ๆ.
บทว่า สุตํ เป็นอุปนิธาบัญญัติ เพราะกล่าวอ้างถึงอารมณ์มีอารมณ์
ที่เห็นแล้วเป็นต้น.
ก็ในพระบาลีนี้ ด้วยคำว่า เอวํ ท่านพระอานนท์แสดงความไม่
หลง. เพราะคนหลงย่อมไม่สามารถแทงตลอดโดยประการต่าง ๆ ได้.
ด้วยคำว่า สุตํ ท่านพระอานนท์แสดงความไม่ลืมถ้อยคำที่ได้สดับ
มา เพราะผู้ที่ลืมถ้อยคำที่ไค้ที่ได้สดับสดับมานั้น ย่อมไม่รู้ชัดว่า ข้าพเจ้าได้สดับ

Insert Table

   🔠  ₂₁₉

No comments:

Post a Comment

ประณาม Khatha สำหรับ Phra สรรพาลังการ Pali ศัพท์